ฝนชะช่อมะม่วง คืออะไร มีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง

ฝนชะช่อมะม่วง

ฝนชะช่อมะม่วง กรมอุตุนิยมวิทยา ออกมาประกาศว่าในช่วงวันที่ 12-14 มกราคม 2567 สภาพอากาศจะมีการเปลี่ยนแปลง โดยคาดว่าจะมีคลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันตกพัดปกคลุมภาคเหนือ ภาคอีสานตอนบน ทำให้มีฝน/ฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ตามฝนนอกฤดูกาลหรือที่เรียกกันว่า “ฝนชะช่อมะม่วง” ในปีนี้ถือว่ามาเร็ว เพราะปกติจะมาในช่วงปลายเดือนมกราคม โดยฝนชะช่อมะม่วงนั้นจะมีปริมาณฝนไม่มาก

แม้ช่วงนี้จะอยู่ในช่วงปลายฤดูหนาว แต่ก็มีฝนฟ้าคะนอง หรือฝนหลงฤดูเกิดขึ้นได้ บางพื้นที่เรียกว่า ฝน ชะช่อมะม่วง เรามาดูที่มาและสาเหตุของการเกิดฝนในช่วงนี้กัน ศิลปะบนนาข้าว เนื่องจากช่วงนี้ จะได้รับอิทธิพลจากคลื่นกระแสลมตะวันตกจากเมียนมาเคลื่อนผ่านประเทศไทยตอนบนและด้านตะวันตกของประเทศ ลักษณะเช่นนี้จะทำให้หลายพื้นที่มีฝนฟ้าคะนอง

ลมกระโชกแรงบางแห่ง และอาจมีลูกเห็บตกได้ในบางพื้นที่นะคะ คลื่นกระแสลมตะวันตก เป็นคลื่นที่พัดมาจากเทือกเขาหิมาลัย ฝน ชะช่อมะม่วง มักจะเคลื่อนตัวมาจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออกบริเวณตั้งแต่อินเดียบังคลาเทศ เมียนมา เรื่อยมาจนกระทั่งเข้ามาปกคลุมบริเวณประเทศไทยตอนบนนั่นเอง ก็เลยไม่ใช่เรื่องแปลกที่ ช่วงนี้จะมีฝนนอกฤดู

หรือบางพื้นที่เรียกว่า ฝน ชะช่อมะม่วง เป็นคำเรียกชื่อฝนที่ตกนอกฤดูและเป็นคำที่ใช้บริเวณประเทศไทยตอนบน pgสล็อต หมายถึงฝนที่ตกในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม ซึ่งเป็นระยะที่มะม่วงกำลังออกช่อ โดยฝนนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ถ้าฝนตกในช่วงที่ดอกพร้อมรับการผสมเกสร ในช่วงนั้นการผสมอาจจะไม่ดีเพราะมีความชื้น มีน้ำมากเกินไป

แต่ถ้าเกิดหลังจากที่ติดผลเรียบร้อย ก็จะช่วยให้ติดผลได้ดี นี่ก็เป็นที่มาของคำว่า ฝน ชะช่อมะม่วง นั่นเองค่ะ ซึ่งฝนที่ตกลงมาในช่วงนี้ก็ส่งผลดีในบางพื้นที่ เพราะช่วยลดฝุ่นแถมคลายร้อน แต่ถ้าตกหนักมากเกินไปอาจส่งผลเสียต่อผลผลิตทางเกษตรได้ ดังนั้นเกษตรกรต้องระวังและดูผลผลิตกันเป็นพิเศษ

ฝนชะช่อมะม่วงเป็นคำเรียกชื่อฝนที่ตกนอกฤดูฝน เช่น ในช่วงมกราคม ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ต้นไม้ผลไม้ต่าง ๆ กำลังออกช่อดอก โดยเฉพาะช่อมะม่วง ลิ้นจี่ ฝนชะช่อมะม่วงนี้มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ถ้าฝนตกในช่วงที่ดอกพร้อมรับการผสมเกสรพอดี ก็อาจจะทำให้การผสมเกสรไม่ดีเพราะมีความชื้น แต่ถ้าฝนชะช่อมะม่วงตกหลังจากติดผลแล้วก็จะยิ่งทำให้การติดผมนั้นดียิ่งขึ้น

เมื่อพิจารณาโดยทางอุตุนิยมวิทยาเกษตร ก็มีเหตุผลพอจะเชื่อได้ เมื่อมะม่วงออกช่อ ผงฝุ่นละอองในอากาศก็จับเกาะตามช่อ ฝุ่นละอองโดยมากเป็นเกลือ ความเค็มย่อมทำให้ช่อมะม่วงร่วงหล่นและเหี่ยวแห้งไป ไม่ติดเป็นผล แต่เมื่อมีฝนตก ย่อมชะผงฝุ่นละอองที่จับตามช่อให้หมดไป ช่อจึงสะอาด เย็นและชุ่มชื้น ทำให้ช่อติดเป็นผลได้มาก

เมื่อมีฝนเช่นนี้ตก ชาวสวนชาวไร่จึงดีใจมาก และเรียกกันว่า ฝน ชะช่อมะม่วง ชาวนาเรียกว่าฝนชะลาน เพราะฝนนี้ตกในระยะที่จะนวดข้าวบนลาน ต้องทำลานให้สะอาด เมื่อมีฝนตกลงมาจึงช่วยชะลานให้สะอาด จึงเรียกว่าฝนชะลาน ฝนชะช่อมะม่วงเป็นฝนขนาดเบา มีปริมาณไม่มาก เป็นฝนที่เกิดจากปรากฏการณ์อุตุนิยมวิทยาชนิดหนึ่งที่เรียกว่า

คลื่นในกระแสลมตะวันออก easterly wave ลมฝ่ายตะวันออกจากมหาสมุทรแปชิฟิก และทะเลจีนใต้พัดเข้าสู่อ่าวไทย ในกระแสลมตะวันออกนี้ บางคราวก็เกิดลักษณะอากาศแปรปรวน เกิดเป็นคลื่นขึ้นในกระแสอากาศ เคลื่อนจากตะวันออกไปทางตะวันตก ภายในกระแสคลื่นของลมตะวันออกมีเมฆมากและมีฝนตกในร่องของคลื่น เมื่อคลื่นผ่านถึงที่ใดก็ทำให้เกิดฝนในบริเวณนั้น เป็นฝนตกนอกฤดู

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *